วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นควรละ
"ท่านอย่าได้ถือโดยได้ฟังตามกันมา
อย่าได้ถือโดยลำดับสืบ ๆ กันมา
อย่าได้ถือโดยความตื่นว่าได้ยินว่าอย่างนี้ ๆ
อย่าได้ถือโดยอ้างตำรา
อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา
อย่าได้ถือโดยนัยคือคาดคะเน
อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ
อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลัทธิของตน
อย่าได้ถือโดยเชื่อว่าผู้พูดสมควรจะเชื่อได้
อย่าได้ถือโดยความนับถือว่าสมณะผู้นี้เป็นครูของเรา
“เมื่อใดท่านรู้ด้วยตนนั้นแล ว่าธรรมเหล่านี้ (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้ติเตียน ธรรมเหล่านี้ใครประพฤติให้เต็มทีแล้ว เป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เป็นไปเพื่อทุกข์ ดังนี้ ท่านควรละธรรมเหล่านั้นเสียเมื่อนั้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
น้ำกับทิฐิ
นานมาแล้วมีชายคนหนึ่งชื่อว่า...ทิฐิ... เขาเป็นคนที่มีนิสัยอวดดื้อถือดีไม่ต่างจากชื่อ เพราะเมื่อได้ลองเชื่อมั่นในสิ่งใดแล้ว ทิฐิคนนี้ก็จะยึดม...
-
มัชฌิมาปฏิปทาในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลาง คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 ได้แก่ อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบตนเองให้ลำบากเกิน...
-
อุปสรรคของสมาธิคืออะไร..? อุปสรรคของสมาธิ ได้แก่ นิวรณ์ หมายถึง สิ่งที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณความดี, ไม่ให้บรรลุสมาธิได้ มี 5 อ...
-
.....พรานคงและคนรุ่นเก่า ๆ ให้สัจจะปฏิญาณว่า ถึงจะล่าสัตว์ก็จริง แต่จะไม่ล่าและฆ่าลิง ค่าง บ่าง ชนี เพราะสัตว์เหล่านี้เมื่อถลก หนังออกแล้ว ม...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น